โครงการอุปสมบทหมู่เข้าพรรษา 100,000 รูป ทุกหมู่บ้านทั่วไทย ปี 2554
ระยะเวลาอบรม
- วันที่ 29 มิถุนายน - 7 พฤศจิกายน พ.ศ.2554 (รวม 132 วัน)
- วันบรรพชา วันเสาร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ.2554 ณ ศูนย์อบรมใหญ่วัดพระธรรมกาย
- วันอุปสมบท วันที่ 10 – 13 กรกฎาคม พ.ศ.2554 ณ วัดที่อบรมและวัดใกล้เคียง
- รับประกาศนียบัตร ปิดการอบรม 7 พฤศจิกายน พ.ศ.2554
วัตถุประสงค์
- เพื่อให้กระแสธรรมขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แผ่ปกคลุมทั่วผืนแผ่นดินไทยให้ดับร้อน ฝ่าภัยวิกฤติไปสู่ความเข้มแข็งและเจริญรุ่งเรืองต่อไป
- เพื่อให้ประชาชนทุกหมู่บ้านทั่วประเทศได้ร่วมสั่งสมบุญบารมีในโครงการอุปสมบทหมู่ และเป็นแบบอย่างอันดีให้เกิดโครงการเช่นนี้ขึ้นทั่วประเทศไทย
- เพื่อให้ผู้อุปสมบทได้มีโอกาสศึกษาและปฏิบัติธรรมเพื่อเป็นหลักในการดำเนินชีวิตอย่างถูกต้องสืบไป
คุณสมบัติผู้เข้าอุปสมบท
- เป็นชายแท้อายุ 20 – 60 ปี
- จบการศึกษา มัธยมศึกษาปีที่ 3 ขึ้นไป
- สุขภาพแข็งแรง ไม่เป็นโรคติดต่อ โรคจิตประสาท หรือโรคประจำตัวร้ายแรงอื่นๆ และไม่ติดยาเสพติด
- ร่างกายไม่พิการ เช่น ตาบอด หูหนวก แขนขาขาด เป็นต้น
- ไม่มีรอยสักขนาดใหญ่ หรือสักเป็นรูปไม่เหมาะสม อยู่นอกร่มผ้าเมื่อครองจีวร
- มีคุณสมบัติอื่นๆ ของผู้บวชตามกฎมหาเถรสมาคม
หลักฐานการสมัคร
- รูปถ่าย ขนาด 1 นิ้ว หรือ 2 นิ้ว ไม่สวมหมวก ไม่ใส่แว่นดำ ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน จำนวน 1 ใบ
- สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน จำนวน 1 ชุด
- สำเนาหลักฐานการศึกษา จำนวน 1 ชุด
- ใบรับรองแพทย์และใบระบุผลการตรวจเลือด
สถานที่อบรมและบรรพชาอุปสมบท
- วัดอบรมประจำอำเภอทั่วประเทศ (ปรับปรุงล่าสุด 17 พฤษภาคม พ.ศ.2554)
สมัครที่ศูนย์อบรมใหญ่ ปทุมธานี ได้ที่ หอฉันคุณยายอาจารย์ฯ ตั้งแต่เวลา 8.30 น.-17.00 น. จนถึงวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ.2554 จากนั้นจะมีการย้ายที่สมัครไปที่ห้อง SPD
ติดต่อทางโทรศัพท์ หมายเลข 02-831-1234 (ช่วงเวลา 8.30น.-18.30น.) หมายเลข 08-7707-7771-3 (ช่วงเวลา 18.30-21.00 น.)
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เป็นมหากุศล สร้างความร่มเย็นและนำความเจริญรุ่งเรืองมาสู่แผ่นดินไทย
- เกิดความร่วมมือในทางสร้างสรรค์ระหว่างวัดและชุมชนทั่วประเทศ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืนต่อไป
- สร้างผู้นำในการเป็นต้นแบบทางศีลธรรมให้เกิดขึ้นในสังคมทุกภาคส่วน ทั่วประเทศไทย
- ผู้เข้าอุปสมบทได้เรียนรู้หลักธรรมนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต
ผู้รับผิดชอบโครงการ
- คณะสงฆ์ทั้งแผ่นดิน
- คณะกรรมาธิการ การศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม สภาผู้แทนราษฎร
- วัดพระธรรมกาย และมูลนิธิธรรมกาย
- สมาคมกำนัน ผู้ใหญ่บ้านแห่งประเทศไทย
- ชมรมพุทธศาสตร์สากล ในอุปถัมภ์สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์
ผู้อุปถัมภ์โครงการ
พระราชภาวนาวิสุทธิ์ (หลวงพ่อธัมมชโย) เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ประธานมูลนิธิธรรมกาย
CNN iReport
ข่าวงานบุญและข่าวกิจกรรมต่างๆของวัดพระธรรมกายและมูลนิธิธรรมกาย นำเสนอโดย CNN iReport
พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)
ประวัติ พระเดชพระคุณหลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย พระผู้ปราบมาร
พระราชภาวนาวิสุทธิ์
พระราชภาวนาวิสุทธิ์ มีนามเดิมว่า ไชยบูลย์ สุทธิผล ถือกำเนิดเมื่อวันเสาร์ที่ 22 เมษายน พ.ศ.2487 ตรงกับวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 6 ปีวอก เวลา 18.๐๐ น. ณ บ้านริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ต.บ้านแป้ง อ.พรหมบุรี จ.สิงห์บุรี
ธรรมกาย คือ ธรรมขันธ์
"พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้มีพระธรรมขันธ์ กล่าวคือ ศีลขันธ์ สมาธิขันธ์ ปัญญาขันธ์ วิมุตติขันธ์ วิมุตติญาณทัสสนขันธ์ เป็นพระสรีระกาย" คำว่า กาย มีความหมายว่า เป็นที่รวม ดังเช่น รูปกาย (กายที่มีรูป ) เป็นที่รวมแห่งอวัยวะน้อยใหญ่ และธรรมทั้งหลายมีผมเป็นต้น เหมือนตัวของช้างตัวของรถเป็นต้นฉันใด ธรรมกาย ย่อมเป็นที่รวมแห่งธรรมขันธ์ ๕ มีศีลขันธ์เป็นต้นฉันนั้นเหมือนกัน
วิธีเข้าถึงธรรมกายในคัมภีร์
เนื้อความในอรรถกถาและฎีกาตอนนี้ จึงเป็นการบอกถึงวิธีการเข้าถึงพระธรรมกายไปโดยปริยาย ตามวิธีการที่หลวงปู่วัดปากน้ำท่านได้ค้นพบ ดังนั้น เนื้อความตอนนี้ถ้าจะแปลลงในหลักปฏิบัติ จึงได้ควาว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้ามีพระธรรมกายที่เข้าถึง (สมิทฺธ) ได้ด้วย คุณรัตนะ คือ ศีลขันธ์ สมาธิขันธ์ ปัญญาขันธ์ วิมุตติขันธ์ วิมุตติญาณทัสสนขันธ์
มหาปูชนียาจารย์
พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ ผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย, พระเทพญาณมหามุนี (หลวงพ่อธัมมชโย) ผู้สืบทอดวิชชาธรรมกาย, คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง ผู้ให้กำเนิดวัดพระธรรมกาย
Dhammachai Day
August 27th, 1969, a full moon day on the ninth month of the lunar calendar, was an auspicious day as Mr. Chaiyaboon Suthipol donned the saffron robe and became a monk, as he had wished, at the chapel of Wat Paknam Bhasicharoen. He received the monastic title "Dhammajayo", which means "The victor through Dhamma". Since then the sun of peace started to shine.
About us
In many ways peace is one of the most sought after commodities in the world, this is perhaps because true peace is so rarely found. Human beings seek for peace in all places, books, music, exotic destinations, in companionship and even spend great amounts of money in this pursuit,
ประวัติความเป็นมา
ปัจจุบันมีผู้กล่าวกันมากว่า "คนไม่ค่อยเข้าวัด ผู้คนมีศีลธรรมน้อยลง" วัดพระธรรมกายมองปัญหานี้ในมุมกลับว่า "จริงๆ แล้วประชาชนอยากเข้าวัด แต่วัดยังไม่น่าเข้า เป็นหน้าที่ของพระภิกษุสงฆ์ จะต้องเป็นผู้นำในการพัฒนาปรับปรุงวัดให้น่าเข้า แล้วประชาชนก็จะหลั่งไหลเข้าวัดเอง" จากแนวคิดนี้ วัดพระธรรมกาย ได้แบ่งเขตพื้นที่เป็น เขตพุทธาวาส ที่ตั้งของโบสถ์ ประดิษฐานพระพุทธรูป เขตธัมมาวาส ที่แสดงธรรมอบรมประชาชน เขตสังฆาวาส ที่พักสงฆ์ อย่างเป็นสัดส่วนและได้พัฒนาวัดตามหลักปฏิรูปเทส ๔ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
History of the Dhammakaya Temple
Wat Phra Dhammakaya or the Dhammakaya Temple was established on 20th February 1970 by the most venerable Phrathepyanmahamuni (Luang Por Dhammajayo), Master Nun Chandra Khonnokyoong and their disciples. The idea of Wat Phra Dhammakaya originates from the great determination of the great master Phramongkolthepmuni (Sodh Candasaro), the late abbot of Wat Paknam Bhasicharoen and the discoverer of Dhammakaya meditation. He aimed to propagate Dhammakaya meditation worldwide in order to prolong the Lord Buddha's teachings and promote true peace on earth.
วัดพระธรรมกาย
ความตั้งใจแน่วแน่ของคณะผู้บุกเบิกสร้างวัด คือการอบรมศีลธรรมแก่ประชาชน เพื่อสร้างสันติสุขให้แก่ชาวโลก จึงมีแนวทางสำคัญ คือ สร้างวัดให้เป็นวัด สร้างพระให้เป็นพระ สร้างคนให้เป็นคนดี ด้วยเหตุนี้วัดพระธรรมกายจึงมุ่งเน้นการอบรมธรรมะทั้งภาคปริยัติและ ปฏิบัติ ให้แก่พระภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา ตลอดจนสาธุชนผู้สนใจศึกษาธรรมะทุกท่านตลอดมา
Dhammakaya Temple
Wat Phra Dhammakaya was built according to the four factors that contribute to the cultivation and development of virtues, that were taught by the Lord Buddha. These includes: Pleasant location, Pleasant food, Pleasant people and Pleasant Dhamma.
พระธรรมกาย
แม้พระพุทธศาสนาจะเข้ามาสู่ประเทศไทยเป็นเวลาเกือบพันปีแล้ว และแม้ในปัจจุบันประเทศไทยจะได้ชื่อว่าเป็นดินแดนที่พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองที่สุดในโลก เพราะประชาชนเกือบทั้งประเทศเป็นพุทธศาสนิกชน ผู้ให้การทำนุบำรุง ตลอดจนปฏิบัติศาสนธรรม แต่ดูเหมือนว่าพุทธศาสนิกชนไทยยังขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับคำสอนอันเป็นหลักสำคัญในพระพุทธศาสนาอยู่ไม่น้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งคำสอนเกี่ยวกับเรื่อง “ธรรมกาย” ทั้งๆ ที่เรื่องนี้มีปรากฏหลักฐานทั้งในพระไตรปิฎก และคัมภีร์สำคัญๆ ในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทของเราหลายแห่ง
Dhammakaya Chapel
The Dhammakaya Chapel was designed in contemporary Thai style. It has been used to organize ordination ceremonies for Thai as well as international Buddhists. The monastic community perform ceremonies as regulated by the Lord Buddha.
IDOP ธรรมทายาทนานาชาติ
เพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้ชาวต่างชาติผู้มีความสนใจในพระพุทธศาสนาได้เรียนรู้และปฏิบัติตามคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอย่างลึกซึ้ง วัดพระธรรมกายและมูลนิธิธรรมกาย จึงได้จัดให้มีการอบรมธรรมทายาทนานาชาติขึ้นในประเทศไทย โดยพัฒนาเป็นหลักสูตรเฉพาะเพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้ปฏิบัติตนเป็นพระแท้ทั้งด้านปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ สามารถนำหลักธรรมไปใช้ในการดำเนินชีวิตได้แม้ภายหลังจากลาสิกาขาแล้ว
Dhamma Media Channel (DMC)
รายการธรรมะทางโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมช่อง DMC เป็นอีกทางเลือกหนึ่งของคนยุคใหม่ ที่นำเสนอสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อชีวิตและจิตใจให้แก่ประชาชนทั่วไป โดยเน้นการนำเสนอคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในรูปแบบการดำเนินรายการที่ทันสมัย ซึ่งพระเดชพระคุณพระเทพญาณมหามุนี (หลวงพ่อธัมมชโย) เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย และประธานมูลนิธิธรรมกาย มีความตั้งใจว่า รายการธรรมะช่อง DMC จะเป็นรายการที่ทำให้ผู้ชมเพลิดเพลินกับธรรมะขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
เกี่ยวกับสมาธิ
มนุษย์เราประกอบไปด้วยองค์ประกอบหลักสองอย่างคือ กาย และ ใจ เรามีวิธีการมากมายในการปรับกายให้แข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ แต่วิธีในการปรับใจให้แข็งแกร่งนั้นกลับไม่มีใครให้ความสำคัญ คนเรามักจะปล่อยใจให้เพลิดเพลินไปกับอารมณ์ และเรื่องราวต่างๆ ทั้งที่น่าพึงพอใจ และไม่น่าพึงพอใจ ทำให้ใจของเรานั้นมักจะล่องลอยออกไปสู่นอกตัวเสมอๆ สมาธิจึงเป็นวิธีการที่จะนำใจกลับคืนเข้ามาอยู่กับเนื้อกับตัวอีกครั้งหนึ่ง
นโยบายความเป็นส่วนตัวสำหรับเวป
รายละเอียดนโยบายความเป็นส่วนตัวของเวป dhammakaya.net ตามกฏหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลประเทศไทย ปี 2565
Phramongkolthepmuni (Sodh Candasaro)
The greatness of the Ven. Phramonkolthepmuni /Luang Pu Sod Chandasaro or Luang Pu Wat Paknam came as a result of his meditation on the full moon day of the tenth lunar month of 1916 when, he strove to re-discover the way to attain dhammakaya, the body of enlightenment or the Buddha Nature. Luang Pu Wat Paknam is always in the heart of those who practice Dhammakaya meditation. He continue to be a legend for meditators of the modern day to live up to, but at the same time a forward looking example leading us in spiritually happy practice in to the next millenium.
การฝึกสมาธิเบื้องต้น
สมาธิ คือ ความสงบ สบาย และความรู้สึกเป็นสุขอย่างยิ่งที่มนุษย์สามารถสร้างขึ้นได้ด้วยตนเอง เป็นสิ่งที่พระพุทธศาสนากำหนดเอาไว้เป็นข้อควรปฏิบัติ เพื่อการดำรงชีวิตประจำวันอย่างเป็นสุข ไม่ประมาท เต็มไปด้วยสติสัมปชัญญะ และปัญญา อันเป็นเรื่องไม่เหลือวิสัย ทุกคนสามารถปฏิบัติได้ง่ายๆ ดังวิธีปฏิบัติที่พระเดชพระคุณหลวงปู่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ได้เมตตาสั่งสอนไว้
หลักฐาน “ธรรมกาย” ในคัมภีร์
ธรรมกาย แปลว่า กายอันเกิดจากธรรมคือโลกุตรธรรม พระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี หลวงพ่อวัดปากน้ำภาษีเจริญได้กล่าวถึงลักษณะของ “ธรรมกาย” ไว้ พอสรุปได้ว่า มีลักษณะคล้ายพระพุทธปฏิมากรแก้วใส เกตุดอกบัวตูม แต่ใสสว่างเย็นตาเย็นใจ
อุโบสถวัดพระธรรมกาย
อุโบสถวัดพระธรรมกายเริ่มก่อสร้างเมื่อปลายปี พ.ศ. ๒๕๒๐ เสร็จสมบูรณ์เมื่อวันศุกร์ที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๒๕ สถาปัตยกรรมเป็นแบบไทยประยุกต์ โดยมีวัดเบญจมบพิตร ดุสิตวนารามราชวรวิหารเป็นต้นแบบ การออกแบบยึดหลักความแข็งแรง คงทน เรียบง่าย แต่สง่างาม
ธรรมกาย พระนามของตถาคต
อนึ่ง แม้ปัญญาในการรู้เห็นธรรมที่เกิดจากสมาธิภาวนามยญาณของท่านผู้ได้โลกียฌานก็ดี (ทั้งมนุษย์และเทวดา) ของพวกกายพรหม กายอรูปพรหมผู้มิได้เป็นพระอริยเจ้าก็ดี ก็ยังอยู่ในวงจำกัด ท่านเหล่านั้นอาศัยอายตนะที่เป็นโลกียะ ยังถูกกิเลสอย่างละเอียดในส่วนโลกิยะครอบงำปรุงแต่งอยู่ จึงรู้เห็นได้เฉพาะโลกิยธรรมเท่านั้น ไม่สามารถรู้เห็นโลกุตรธรรม จึงมิได้ชื่อว่า ธรรมกาย
กิจกรรมวัดพระธรรมกายและมูลนิธิธรรมกาย
ด้วยเห็นความสำคัญของพระพุทธศาสนา และการฟื้นฟูศีลธรรมโลก พระเทพญาณมหามุนี (หลวงพ่อธัมมชโย) เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย และประธานมูลนิธิธรรมกาย จึงได้ดำริโครงการต่างๆขึ้น เพื่อชักชวนพุทธบริษัท 4 ให้ตื่นตัว หันมาร่วมแรงร่วมใจกันฟื้นฟูพระพุทธศาสนาให้รุ่งเรืองเหมือนสมัยพุทธกาล รวมทั้งฟื้นฟูศีลธรรมโลกให้แก่เยาวชนและประชาชนทั่วไป เพื่อความสงบสุขของครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ ไปจนถึงโลกใบนี้
มหาธรรมกายเจดีย์
มหาธรรมกายเจดีย์นับว่าเป็นมหาเจดีย์แห่งพระรัตนตรัย เกิดขึ้นจากการนำของหลวงพ่อธัมมชโย โดยดำริจะสร้างศาสนสถานให้เป็นศูนย์กลางการรวมใจและการประพฤติปฏิบัติธรรมของชาวพุทธทั่วโลก
พระธรรมกาย พระคุณลักษณ์ที่แท้จริงแห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
การที่จะทราบได้ว่าท่านผู้นี้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอย่างแน่นอนได้นั้น จึงต้องรู้เห็นลักษณะทั้ง ๒ ประการ คือ (๑) พระรูปกายอันทรงไว้ซึ่งลักษณะมหาบุรุษ ๓๒ ประการเป็นต้น ซึ่งเป็นลักษณะภายนอก สามารถมองเห็นได้ด้วยมังสจักษุเป็นต้นไป และ (๒) พระธรรมกายอันทรงไว้ซึ่งลักษณะมหาบุรุษ ๓๒ ประการเป็นต้น พร้อมด้วยพระคุณธรรมภายในแห่งพระธรรมกาย ซึ่งต้องเห็นด้วยปัญญาจักษุของพระธรรมกายด้วยกัน
มหาวิหารพระมงคลเทพมุนี
มหาวิหารพระมงคลเทพมุนี เป็นสถานที่ประดิษฐานรูปหล่อทองคำของพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ผู้ค้นพบวิชาธรรมกาย ก่อสร้างขึ้นในบริเวณพื้นที่ 2,000 ไร่ ด้านทิศใต้ของศูนย์กลางธรรมกายแห่งโลก
มหาวิหารคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง
มหาวิหารคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง มีพื้นที่ใช้สอย 5,600 ตารางเมตร โครงสร้างอาคารทำจากคอนกรีตผสมพิเศษเสริมเหล็ก รูปทรงของอาคารสร้างเลียนแบบ “ภูเขาทองคำ 6 เหลี่ยม” ของชฎิลเศรษฐีที่มีปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎก
พระสัมพุทธเจ้าทั้งหลายทรงเสด็จอุบัติโดยธรรมกาย
พระพุทธเจ้า ทรงเสด็จอุบัติด้วยรูปกายที่สวนลุมพินี, เสด็จอุบัติด้วย พระธรรมกาย ที่ควงต้นโพธิ์. ด้วยอาทิศัพท์ว่า เอวมาทินา ท่านอาจารย์ย่อมสงเคราะห์คำมีอาทิอย่างนี้ว่า ท่านพระอุบาลีแสดงการอนุเคราะห์พระรูปกายด้วยคำระบุว่า เวรัญชา แสดงการอนุเคราะห์ ธรรมกาย โดยคำระบุว่า นเฬรุปุจิมันทมูละ
สภาธรรมกายสากล
สภาธรรมกายสากลเป็นศาลาอเนกประสงค์ขนาดใหญ่ 2 ชั้น ชั้นบนเป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมและฟังธรรม รองรับสาธุชนได้ 300,000 คน และมีรัตนบัลลังก์ ใช้เป็นศูนย์กลางสภาธรรมกายสากล และพื้นที่นั่งของพระภิกษุสงฆ์กว่า 1,000 รูป ชั้นล่างเป็นลานจอดรถ ใช้จอดรถได้กว่า 10,000 คัน
ผลแห่งบารมี ธรรมกาย ตัวตนที่แท้จริง
พระอรรถกถาจารย์กล่าวถึงผลแห่งบารมีธรรม โดยย่อ คือ ทำพระโพธิสัตว์ผู้ทรงบำเพ็ญบารมีธรรมเต็มเปี่ยมแล้ว ให้ถึงความเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ส่วนโดยพิสดาร คือ ความพอกพูนเจริญขึ้นของพุทธภาวะภายใน คือ ธรรมกาย อันเป็นตัวตนที่แท้จริง ซึ่งเกิดมีขึ้นในที่สุดแห่งอรหัตมรรคญาณ อันเป็นตัวกำจัดข้าศึก คือกิเลสทั้งหลาย อันเป็นเหตุให้ยึดถือ สิ่งมิใช่ตัวตน ว่าเป็นตัวตนมานาน
หอฉันคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง
หอฉันคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูงมีพื้นที่ใช้สอย 32,000 ตารางเมตร รองรับพระภิกษุสงฆ์และสามเณรฉันภัตตาหารพร้อมกันได้ 6,000 รูป มีโรงครัวที่สามารถประกอบอาหารเลี้ยงพระและสาธุชนที่มาปฏิบัติธรรมในงานบุญใหญ่ได้วันละ 200,000 คน
ผู้ตั้งอยู่ในธรรม คือ ธรรมกาย
เมื่อพบคำว่า ตั้งอยู่ในธรรม (ธมฺมฏฺฐ ,ธมฺเม ฐิต เป็นต้น) ซึ่งเป็นคำกล่าวแสดงคุณบทกล่าวสรรเสริญคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า หรือของพระอริยสาวกทั้งหลาย ซึ่งมีกล่าวไว้มากมายในคัมภีร์พระพุทธศาสนา บัณฑิตทั้งหลายพึงทราบไว้เถิดว่า ท่านกล่าวหมายถึง การตั้งอยู่ การดำรงอยู่หรือสถิตย์อยู่ในธรรมกาย อันเป็นกายให้ได้ตรัสรู้ มรรค ๔ ผล ๔ และนิพพาน
มหารัตนวิหารคด
มหารัตนวิหารคด คือ อาคารสองชั้นในรูปแบบคล้ายสเตเดี้ยมที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อรองรับพระภิกษุ สามเณร และสาธุชนจากทั่วโลก ที่จะมาเจริญสมาธิภาวนา และหารือถึงวิถีทางในการนำสันติสุขและสันติภาพมาสู่มวลมนุษยชาติ การสร้างความเข้มแข้งและสมัครสมานสามัคคีให้แก่พระศาสนา และที่สำคัญที่สุดคือการแพร่ขยายความรู้ในการเจริญสมาธิภาวนา ให้กับชาวโลกโดยไม่จำกัด เชื้อชาติ ความเชื่อ ศาสนา และเผ่าพันธุ์
ธรรมวิจยสัมโพชฌงค์ในธรรมกาย
คำว่า เข้าถึง ธรรมกาย เป็นอัน มาก หมายความว่า ธรรมอันเป็นส่วนหนึ่งแห่งการตรัสรู้ก็คือญาณเป็นเครื่องสอดส่อง วิจัย ใคร่ครวญ พิจารณาธรรม (ทั้งกุศลธรรมและอกุศล) มีใน ธรรมกาย เป็นอันมาก คือมีปรากฏใน ธรรมกาย ทุกประเภท เพราะ ธรรมกาย คือ ตถาคต เป็นที่ปรากฏของรัตนะ คือโพชฌงค์ ๗ ประการ
พระธรรม แว่นส่องธรรมกาย
พระเจ้าอโศกมหาราช เมื่อทรงทอดพระเนตร ทางสีหบัญชร (หน้าต่าง) โดยลำดับแห่งคำที่กล่าวไว้ข้างต้น ทรงเห็นนิโครธสามเณรผู้สมบูรณ์ด้วยอิริยาบถ ผู้ฉุดดึงนัยนาของชาวพระนครทั้งหลาย ผู้แลดูที่ประมาณชั่วแอก แล้วทรงเลื่อมใส เกิดความรัก มีความนับถือท่วมท้น รับสั่งให้ราชบุรุษไปนิมนต์มาแล้ว นิมนต์ให้นั่งบนสีหอาสน์ภายใต้เศวตฉัตร นิมนต์ให้ท่านฉันแล้ว ทรงเห็น พระธรรมกาย ของพระทศพลปรากฏอยู่ในแว่น
พระธรรมนำสู่ธรรมกาย
พระอริยสาวกเป็นอันมาก ผู้ปฏิบัติตามธรรม คืออริยมรรคมีองค์ ๘ อันประเสริฐ จึงบรรลุธรรม (ปตฺตธมฺโม) ตั้งอยู่ในธรรม (ธมฺเม ฐิโต) รู้แจ้งธรรม (วิทิตธมฺโม) เป็นธรรมภูต คือ ธรรมกาย ซึ่งเป็นเครื่องนำเข้าไปหาพระธรรม คือ พระธรรมกายของพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้เป็นองค์แห่งธรรม ผู้เป็นพระธรรมกาย ผู้เป็นเจ้าของแห่งธรรม
หลวงพ่อธัมมชโย
ประวัติ หลวงพ่อธัมมชโย เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย และประธานมูลนิธิธรรมกาย
สิริธรรมกาย
สิริ คือ ความงดงามของพระรูปกายอันยอดเยี่ยมหาผู้เปรียบปานมิได้ เพราะประกอบไปด้วยมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ และอนุพยัญชนะคือลักษณะพิเศษแห่งอวัยวะส่วนย่อยๆ อีก ๘๐ ประการเป็นต้น อันเกิดแต่การสั่งสมบุญบารมีมาอย่างบริบูรณ์แล้ว ย่อมเป็นที่ดึงดูดนัยนาคือดวงตา (ตาเนื้อ) ของชาวโลกผู้เป็นรูปัปมาณิกา เลื่อมใสในพระรูปกายของพระองค์ ดังที่ท่านกล่าวไว้ในอรรถกถาสมันตปาสาทิกา
ติดต่อเรา
มูลนิธิธรรมกาย: 40 หมู่ 8, คลองสอง, อำเภอคลองหลวง, ปทุมธานี 12120, ประเทศไทย โทร: +(66)-2831-1000 อีเมล์: info@dhammakaya.net, วัดพระธรรมกาย: 23/2 หมู่ 7, คลองสาม, อำเภอคลองหลวง, ปทุมธานี 12120, ประเทศไทย โทร: +(66)-2831-1000 อีเมล์: info@dhammakaya.net
หลวงปู่วัดปากน้ำกับการเผยแผ่วิชชาธรรมกาย
หลวงพ่อวัดปากน้ำมีวาทะตรงกับใจ เมื่อจะพูดอะไรก็พูดโดยไม่สะทกสะท้านและไม่กลัวคำติเตียนด้วย เช่นครั้งหนึ่ง ผู้เขียนเรื่องนี้ได้มาฉันเพลที่วัดปากน้ำ วันนั้นมีประชาชนมาก ร่วมใจถวายทานแด่พระภิกษุสามเณรทั้งวัดเป็นกรณีพิเศษ เมื่อทายกประเคนอาหารเรียบร้อยแล้ว มีพ่อค้าตลาดสำเพ็งผู้มั่งคั่งคนหนึ่งไปกราบและถามว่า “หลวงพ่อขอรับ วันนี้จะมีผู้บริจาคสร้างกุฏิเพื่อเจริญพระกัมมัฏฐานบ้างไหม” ชาวบ้านไม่น้อยกว่า 20 คนที่นั่งใกล้ๆได้ยินคำถามนั้น คิดว่าคงตั้งใจฟังคำตอบของหลวงพ่อต่างทอดสายตามองหลวงพ่อเพื่อฟังคำตอบ
คำว่า ธรรมกาย ถูกเย้ยหยัน
หลวงพ่อวัดปากน้ำใช้คำว่า “ธรรมกาย” เป็นสัญลักษณ์ของสำนักกัมมัฏฐานวัดปากน้ำทีเดียว เอาคำว่า “ธรรมกาย” ขึ้นเชิดชู ศิษยานุศิษย์รับเอาไปเผยแพร่ทั่วทิศ และอิทธิพลของคำว่า “ธรรมกาย” นั้น ไปแสดงความอัศจรรย์ถึงทวีปยุโรป
ความจริงปรากฏ ธรรมกายเป็นของแท้
เรื่อง ศีล สมาธิ ปัญญา ตามคัมภีร์วิสุทธิมรรคนั้นเป็นเรื่องใหญ่ เป็นเรื่องยาก ผู้ไม่ใช่นักปฏิบัติแล้ว ยากที่จะนำมาแสดงให้แจ่มแจ้ง ให้เป็นผลปฏิบัติได้ แต่หลวงพ่อวัดปากน้ำแสดงได้แจ้งชัด และชี้ทางปฏิบัติให้โดยตรง จึงสมควรเทิดไว้ในฐานันดรพระธรรมกถึกชั้นเยี่ยม
Dhammakaya Cetiya
The dome-shaped stupa symbolizes the Triple Gems (Buddha, Dhamma and Sangha) and is similar to some ancient stupas in India such as Sanji Cetiya. The Maha Dhammakaya Cetiya has been designed to last at least 1,000 years. Externally, it is fabricated with 300,000 Dhammakaya Buddha statues. Inside the Cetiya dome, there are additional 700,000 Dhammakaya Buddha statues. The open area outside the Cetiya is referred to as "meditation square", the sacred ground for Buddhist ceremonies and meditation practice.
มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง
คุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง เกิดเมื่อวันที่ 19 มกราคม พ.ศ.2452 ซึ่งตรงกับ วันพุธ ขึ้น 10 ค่ำ เดือนยี่ ปีระกา ที่อำเภอนครไชยศรี จังหวัดนครปฐม คุณยายเป็นบุตรคนที่ 5 ในจำนวนพี่น้องชายหญิงทั้งหมด 9 คน มีบิดาชื่อ พลอย มีมารดาชื่อ พัน ประกอบอาชีพทำนา ฐานะของครอบครัวจัดอยู่ในระดับปานกลาง
The Memorial Hall of Phramongkolthepmuni (Sodh Candasaro)
In the center of this shrine, there is a solid gold statue of the Great Master Phramongkolthepmuni. Entrance to the hall is only permitted for visitors dressed properly and completely in white clothes. The hall is open on Saturday from 12:30 PM to 5:00 PM and Sunday from 11:00 AM to 12:30 PM.
The Great Sapha Dhammakaya Hall
The great Sapha (which means council in Thai) Dhammakaya Meditation Hall is a two-story multi-purpose building used for meditation practice and Sunday's monastic ceremony. It has the capacity to serve as many as 300,000 people.
The Sun of Peace - Luang Por Dhammajayo
Luang Por Dhammajayo, presently Phrathepyanmahamuni, is the president of the Dhammakaya Foundation. He become interested in Buddhism and meditation during his adolescence. After he met the Master Nun Chandra, he dedicated himself to the practice of Dhammakaya meditation. As a university student, the Master Nun assigned him to teach meditation to other disciples. After graduating from Kasetsart University in 1969, he ordained into the monastic order on August 27th 1969 at the chapel of Wat Paknam Basicharoen in Bangkok. His preceptor, presently His Holiness Somdet Phra Maharatchamangkhalachan, the present abbot of Wat Paknam, gave him the name "Dhammajayo", which means victory through Dhamma. Presently, he teaches Buddhism and meditation on the DMC channel everyday.
The Memorial Hall of Khun Yay Archaraya Chandra Khonnokyoong
The memorial hall is the place for disciples to pay homage to the late Master Nun Chandra. Inside the memorial hall there is a gold statue of the Master Nun and a miniature pagoda containing her relics. The memorial hall has a capacity of 300 people.
The Dining Hall of Khun Yay Archaraya Chandra Khonnokyoong
Named after the founder of the Dhammakaya Temple, the Dining Hall of Khun Yay can seat up to 6,000 monks. Everyday, lay people come to enjoy offering food and refreshments to more than 1,200 monks and novices who reside at this temple.
The Master Khun Yay Acharaya Chandra Khonnokyoong
The Master Nun Khun Yay Acharaya Chandra Khonnokyoong was one of the forefront disciples of the great master. She was an expert in advanced Dhammakaya meditation. Her insight was so powerful that she was greatly admired by the great master who referred to her as "second to none". After the great master passed away, she continued to teach meditation at her residence in the grounds of Wat Paknam. Later, when her residence became overcrowded by disciples who wished to learn meditation, she established a new meditation centre which developed into Wat Phra Dhammakaya. In addition to founding Wat Phra Dhammakaya, the master nun Chandra played a key role in its subsequent success.
The Master Nun Chandra Centennial Building
The Centennial building functions as the head quarter for both Wat Phra Dhammakaya and the Dhammakaya Foundation. The complex houses departmental offices, Dhamma schools, research centers, an auditorium and an educational institute.